บุหรี่ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ (ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบดหรือซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้านหนึ่งเป็นปลายเปิดสำหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตัวกรอง ไว้สำหรับใช้ปากสูดควัน คำนี้ปกติจะใช้หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา
จุดประสงค์ของบุหรี่ ไว้สูบเพื่อคลายเครียด
concept พกพาได้และสะดวก รูปแบบของกล่อง สี บอกถึงรสได้
คุณสมบัติของบุหรี่
-มีตราประทับจากกรมสรรพามิต
-ขนาดซองต่างกันไปแล้วแต่ละยี่ห้อ
-ความยาวของมวน พอดีกับปริมาณที่ต้องการสูบ
-สี บอกถึงกลิ่นและรส
-มีซอง2แบบ แข็งและอ่อน แล้วแต่ผู้บริโภคต้องการ
-ขนาดของมวนแต่ละยี่ห้อก็ไม่เหมือนกัน ทั้งด้านความใหญ่ ความยาว
-ต้องจุดติดด้วยไฟ
-ราคาที่แต่งต่างกันก็ขึ้นอยู่ที่คุณภาพของแต่ละยี่ห้อ
ผลที่ได้รับ
ประโยชน์ (ตามความคิดคนทั่วไป)
-คลายเครียด
-เท่ห์
-ถ่ายสะดวก
-ได้เพื่อน(เวลาไปขอบุหรี่,ขอยืมไฟแช็ค)
-รัฐมีรายได้
โทษ
-มะเร็ง
-ถุงลมโป่งพอง
-ฟันเหลือง
-ปากดำ
-หน้าแก่เร็ว
-กลิ่นตัว กลิ่นปาก
-อันตรายต่อคนรอบข้าง
Tuesday, June 26, 2007
Tuesday, June 12, 2007
เงิน
ประวัติเงินตรา ดินแดนซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบัน เป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ก่อน พุทธศตวรรษที่ 6 ซึ่งกลุ่มชนเหล่านี้ได้มีการติดต่อกับชุมชนอื่นในบริเวณใกล้เคียง โดยใช้สื่อกลางใน การแลกเปลี่ยนหลายรูปแบบ เช่น ลูกปัด เปลือกหอย เมล็ดพืช เป็นต้น สำหรับชนชาติไทยสันนิษฐานว่าได้มีการนำโลหะเงินมาใช้เป็นเงินตรามาตั้งแต่ในสมัยสุโขทัย เรียกกันว่า เงินพดด้วง ซึ่งมีเอกลักษณ์ เป็นของตัวเอง และแสดงให้เห็นถึงความเจริญของชนชาติไทยที่ได้ผลิตเงินตราขึ้นใช้เองเป็นเวลาหลายร้อยปีจวบจนมีการนำเงินเหรียญตามแบบสากลเข้ามาใช้
วิวัฒนาการเงินตราไทย
เงินตราฟูนัน เหรียญเงินด้านหนึ่งมีสัญลักษณ์พระอาทิตย์ครึ่งดวงเปล่งรัศมี อีกด้านหนึ่งเป็นรูปพระศรีวัตสะ กลองบัณเฑาะว์ที่พราหมณ์ใช้ในพิธีต่างๆ และมีเครื่องหมายสวัสดิกะซึ่งหมายถึงความโชคดี
เงินตราทวารวดี เงินตราที่พบยังคงมีสัญลักษณ์เกี่ยวกับกษัตริย์ อำนาจการปกครอง ความอุดมสมบูรณ์ และศาสนา เช่น เหรียญเงินด้านหนึ่งเป็นรูปบูรณกลศ
เงินตราศรีวิชัย ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 การค้าทางทะเลมีความสำคัญมากขึ้น ส่งผลให้เมืองที่อยู่บน คาบสมุทรสุวรรณภูมิ ได้แก่ ไชยา และนครศรีธรรมราช
เงินตราสุโขทัย ในสมัยนี้ยังคงใช้เงินพดด้วงเป็นเงินตรา แต่หลวงผูกขาดในการผลิต เงินพดด้วงในสมัยนี้ คล้ายเงินพดด้วงในสมัยสุโขทัย แต่ตรงปลายขาที่งอจรดกันไม่แหลมเหมือนเงินพดด้วงสุโขทัย ตราที่ประทับส่วนใหญ่เป็นตราจักรและตราประจำรัชกาล
เงินตราสมัยกรุงธนบุรี ในสมัยกรุงธนบุรี ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงเก่า สันนิษฐานว่ามีการผลิตเงินพดด้วงขึ้นใช้เพียง 2 ชนิดคือ เงินพดด้วงตราตรีศูลและตราทวิวุธ
สมัยรัชกาลที่ 1 เงินพดด้วงในรัชกาลนี้ เดิมประทับตราจักร และตราตรีศูล แต่หลังจากบรมราชาภิเษกแล้ว ได้โปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินพดด้วงประจำรัชกาลแล้วประทับตราพระแสงจักร-บัวอุณาโลม
สมัยรัชกาลที่ 2 ตราที่ประทับบนเงินพดด้วย คือ ตราจักรและตราครุฑ สันนิษฐานว่าตราครุฑ มาจากพระนามเดิมของรัชกาลที่ 2 คือ "ฉิม" ซึ่งเป็นวิมานของพญาครุฑ
สมัยรัชกาลที่ 3 ตราปราสาทเป็นตราประจำพระองค์ของรัชกาลที่ 3 ผลิตเมื่อพระองค์เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติในปี พ.ศ. 2367 นอกจากนี้ยังมีการผลิตเงินพดด้วงเป็นที่ระลึกในโอกาสสำคัญๆ
สมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์จึงมีพระราชดำริที่จะเปลี่ยนรูปเงินตราของไทยจากเงินพดด้วงเป็นเงินเหรียญ ในสมัยนี้จึงถือว่ามีการใช้เหรียญกษาปณ์แบบสากลนิยมขึ้นเป็นครั้งแรก ประกาศให้เลิกใช้เงินพดด้วงทุกชนิด ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2447 เป็นต้นมา
สมัยรัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเงินที่สำคัญ พระองค์มีพระราชดำริว่า มาตราของไทยที่ใช้อยู่ในขณะนั้น คือ ชั่ง ตำลึง บาท สลึง เฟื้อง เป็นระบบที่ยากต่อการคำนวณ และการจัดทำบัญชี
สมัยรัชกาลที่ 6 มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ออกใช้แต่ไม่มี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบมากนัก ส่วนใหญ่เป็นเหรียญกษาปณ์ที่มีราคาไม่สูงนัก คือ 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์, และ 1 สตางค์
สมัยรัชกาลที่ 7 ในรัชกาลนี้มีการผลิตเหรียญหมุนเวียนออกใช้ไม่มากนัก เนื่องจากอยู่ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เหรียญประจำรัชกาลที่นำออกใช้เป็นเหรียญชนิดราคา 50 และ 25 สตางค์ ตราพระบรมรูป-ช้างทรงเครื่อง
สมัยรัชกาลที่ 8 เหรียญประจำรัชกาลที่ผลิตออกใช้หมุนเวียน เป็นเหรียญตราพระบรมรูป-พระครุฑพ่าห์ ชนิดราคา 50, 25, 10 และ 5 สตางค์ มี 2 รุ่น คือ รุ่นแรกมีพระบรมรูปเมื่อครั้นเจริญพระชนมพรรษา
สมัยรัชกาลที่ 9 นอกจากนี้ยังมีการจัดทำเหรียญกษาปณ์ที่ระลึก เพื่อบันทึกเหตุการณ์สำคัญ อันเกี่ยวเนื่องกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และหน่วยงานต่าง ๆ
วิวัฒนาการเงินตราไทย
เงินตราฟูนัน เหรียญเงินด้านหนึ่งมีสัญลักษณ์พระอาทิตย์ครึ่งดวงเปล่งรัศมี อีกด้านหนึ่งเป็นรูปพระศรีวัตสะ กลองบัณเฑาะว์ที่พราหมณ์ใช้ในพิธีต่างๆ และมีเครื่องหมายสวัสดิกะซึ่งหมายถึงความโชคดี
เงินตราทวารวดี เงินตราที่พบยังคงมีสัญลักษณ์เกี่ยวกับกษัตริย์ อำนาจการปกครอง ความอุดมสมบูรณ์ และศาสนา เช่น เหรียญเงินด้านหนึ่งเป็นรูปบูรณกลศ
เงินตราศรีวิชัย ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 การค้าทางทะเลมีความสำคัญมากขึ้น ส่งผลให้เมืองที่อยู่บน คาบสมุทรสุวรรณภูมิ ได้แก่ ไชยา และนครศรีธรรมราช
เงินตราสุโขทัย ในสมัยนี้ยังคงใช้เงินพดด้วงเป็นเงินตรา แต่หลวงผูกขาดในการผลิต เงินพดด้วงในสมัยนี้ คล้ายเงินพดด้วงในสมัยสุโขทัย แต่ตรงปลายขาที่งอจรดกันไม่แหลมเหมือนเงินพดด้วงสุโขทัย ตราที่ประทับส่วนใหญ่เป็นตราจักรและตราประจำรัชกาล
เงินตราสมัยกรุงธนบุรี ในสมัยกรุงธนบุรี ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงเก่า สันนิษฐานว่ามีการผลิตเงินพดด้วงขึ้นใช้เพียง 2 ชนิดคือ เงินพดด้วงตราตรีศูลและตราทวิวุธ
สมัยรัชกาลที่ 1 เงินพดด้วงในรัชกาลนี้ เดิมประทับตราจักร และตราตรีศูล แต่หลังจากบรมราชาภิเษกแล้ว ได้โปรดเกล้าฯ ให้ผลิตเงินพดด้วงประจำรัชกาลแล้วประทับตราพระแสงจักร-บัวอุณาโลม
สมัยรัชกาลที่ 2 ตราที่ประทับบนเงินพดด้วย คือ ตราจักรและตราครุฑ สันนิษฐานว่าตราครุฑ มาจากพระนามเดิมของรัชกาลที่ 2 คือ "ฉิม" ซึ่งเป็นวิมานของพญาครุฑ
สมัยรัชกาลที่ 3 ตราปราสาทเป็นตราประจำพระองค์ของรัชกาลที่ 3 ผลิตเมื่อพระองค์เสด็จเถลิงถวัลราชสมบัติในปี พ.ศ. 2367 นอกจากนี้ยังมีการผลิตเงินพดด้วงเป็นที่ระลึกในโอกาสสำคัญๆ
สมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์จึงมีพระราชดำริที่จะเปลี่ยนรูปเงินตราของไทยจากเงินพดด้วงเป็นเงินเหรียญ ในสมัยนี้จึงถือว่ามีการใช้เหรียญกษาปณ์แบบสากลนิยมขึ้นเป็นครั้งแรก ประกาศให้เลิกใช้เงินพดด้วงทุกชนิด ตั้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 2447 เป็นต้นมา
สมัยรัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเงินที่สำคัญ พระองค์มีพระราชดำริว่า มาตราของไทยที่ใช้อยู่ในขณะนั้น คือ ชั่ง ตำลึง บาท สลึง เฟื้อง เป็นระบบที่ยากต่อการคำนวณ และการจัดทำบัญชี
สมัยรัชกาลที่ 6 มีการผลิตเหรียญกษาปณ์ออกใช้แต่ไม่มี การเปลี่ยนแปลงรูปแบบมากนัก ส่วนใหญ่เป็นเหรียญกษาปณ์ที่มีราคาไม่สูงนัก คือ 1 บาท, 50 สตางค์, 25 สตางค์, 10 สตางค์, 5 สตางค์, และ 1 สตางค์
สมัยรัชกาลที่ 7 ในรัชกาลนี้มีการผลิตเหรียญหมุนเวียนออกใช้ไม่มากนัก เนื่องจากอยู่ในภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ เหรียญประจำรัชกาลที่นำออกใช้เป็นเหรียญชนิดราคา 50 และ 25 สตางค์ ตราพระบรมรูป-ช้างทรงเครื่อง
สมัยรัชกาลที่ 8 เหรียญประจำรัชกาลที่ผลิตออกใช้หมุนเวียน เป็นเหรียญตราพระบรมรูป-พระครุฑพ่าห์ ชนิดราคา 50, 25, 10 และ 5 สตางค์ มี 2 รุ่น คือ รุ่นแรกมีพระบรมรูปเมื่อครั้นเจริญพระชนมพรรษา
สมัยรัชกาลที่ 9 นอกจากนี้ยังมีการจัดทำเหรียญกษาปณ์ที่ระลึก เพื่อบันทึกเหตุการณ์สำคัญ อันเกี่ยวเนื่องกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และหน่วยงานต่าง ๆ
เงินตราฟูนัน
เงินตราทวารวดี
เงินตราศรีวิชัย
เงินตราสุโขทัย
เงินตราสมัยกรุงศรีอยุธยา
เงินตราสมัยกรุงธนบุรี
สมัยรัชกาลที่ 1
สมัยรัชกาลที่ 2
สมัยรัชกาลที่ 3
สมัยรัชกาลที่ 4
สมัยรัชกาลที่ 5
สมัยรัชกาลที่ 6
สมัยรัชกาลที่ 7
สมัยรัชกาลที่ 8
สมัยรัชกาลที่ 9
เงินตราทวารวดี
เงินตราศรีวิชัย
เงินตราสุโขทัย
เงินตราสมัยกรุงศรีอยุธยา
เงินตราสมัยกรุงธนบุรี
สมัยรัชกาลที่ 1
สมัยรัชกาลที่ 2
สมัยรัชกาลที่ 3
สมัยรัชกาลที่ 4
สมัยรัชกาลที่ 5
สมัยรัชกาลที่ 6
สมัยรัชกาลที่ 7
สมัยรัชกาลที่ 8
สมัยรัชกาลที่ 9
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้แลกเปลี่ยนระหว่างของ2สิ่งขึ้นไป
concept พกพาง่ายและสะดวก ทนทาน
ภายใต้เงื่อนไข จะต้องได้การรับรองจากรัฐบาลแล้วเท่านั้น มูลค่าอัตราแลกเปลี่ยนของเหรียญมาจากมูลค่าทางด้านประวัติของมัน และ/หรือ มูลค่าที่แท้จริงของโลหะที่เป็นส่วนประกอบ (เช่น เหรียญทอง, เหรียญเงิน หรือเหรียญแพลตินัม)
คุณสมบัติ - มีความคงทนเพื่อให้คงอยู่ได้นาน
-ขนาดและสี จะต้องบอกมูลค่าของเหรียญนั้นๆได้
-น้ำหนักเบาเพื่อพกพาสะดวก แต่น้ำหนักของแต่ละเหรียนญก็ต่างกันไปตามมูลค่าของเหรียญนั้นๆ
เงินในยุคแรกเป็นเงินพดด้วงด้วงมีลักค่อนข้างกลมรูปที่ใช้พิมพ์ก็แล้วแต่ยุคแต่ละสมัย เช่นเงินยุคทราวดี เป็นรูปบูรณกลศ
(หม้อน้ำที่มีน้ำเต็ม) หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ รูปเหล่านี้น่าจะออกแบบตามความเชื่อของคนในยุคนั้น ลักษณะของเงินพดด้วงเป็นก้อนกลมจึงง่ายต่อการพิมพ์ลึก ซึ่งในสมัยรัชกาลที่4เปลี่ยนมาเป็นการพิมพ์นูน เงินพดด้วงส่วนใหญ่จะเป็นลายที่เป็นธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นรูปสัตว์ ดอกไม่ ต้นไม่ต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนในยุคนั้นมีความผูกพันกับธรรมชาติ อยู่กับความอุดมสมบูรณ์ และการออกแบบลายพิมพ์จะไม่มีลายละเอียดมาก เพื่อความง่ายต่อการพิมพ์ด้วย ในรัชกาลที่4เริ่มมีการทำเงินในรูปแบบเหรียญ และยังคงรูปทรงกลม ในยุครัชกาลที่4เหรียญจะเป็นรูปฉัตร ส่วนอีกด้านจะเป็นช้าง และในสมัยรัชกาลที่5นี้เอง มีการเปลี่ยนแปลงคือการพิมพ์รูปพระมหากษัตริ์ย์ลงบนเหรียญจนมาถึงปัจจุบันนี้
Subscribe to:
Posts (Atom)